DSL ย่อมาจาก Digital Subscriber Line คือเทคโนโลยี โมเด็ม ที่ทำให้คู่สายทองแดงธรรมดา ให้กลายเป็นสื่อสัญญาณดิจิตอล ความเร็วสูง โดยใช้เทคนิคการ เข้ารหัสสัญญาณข้อมูล (Modulation) ในย่านความถี่ที่สูงกว่า การใช้งานโทรศัพท์โดยทั่วไป ทำให้เราสามารถ ส่งข้อมูล ในขณะเดียวกับการใช้งานโทรศัพท์ได้ โดยมีเทคโนโลยีใน ตระกูล DSL อยู่หลายเทคโนโลยีเช่น
* HDSL: High bit rate Digital Subscriber Line
* SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line
* SDSL: Symmetric Digital Subscriber Line
* IDSL: ISDN Digital Subscriber Line
* ADSL: Asymmetric Digital Subscriber Line
* RADSL: Rate Adaptive Digital Subscriber Line
* VDSL: Very high bit rate Digital Subscriber Line
โดยแต่ละเทคโนโลยีมีคุณสมบัติแตกต่างกันดังนี้ (ดูตารางประกอบ)
Down Up Mode Distance Wire(n) Voice
HDSL 1.5 Mbps 1.5 Mbps Symmetric 3.4 Km 4 No
SDSL 1.5 Mbps 1.5 Mbps Symmetric 3 Km 2 No
IDSL 128 Kbps 128 Kbps Symmetric 4.5 Km 2 No
ADSL 8 Mbps 1 Mbps Asymmetric 5 Km 2 Yes
VDSL 52 Mbps 2.3 Mbps Asymmetric 1 Km 2 Yes
1. ความ เร็วในการรับ (Down) และ ส่ง (Up) ข้อมูล แต่ละเทคโนโลยีจะไม่เท่ากัน
2. Mode ของการรับส่งข้อมูล หากเทคโนโลยีใดมีอัตราความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลเท่ากันจะเรียกว่า Symmetric(ความสมมาตร) หากอัตราความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลไม่เท่ากันจะเรียกว่า Asymmetric(ความสมมาตร) เช่น ADSL มีอัตราเร็วในการรับข้อมูลสูงถึง 8 Mbps และมีอัตราเร็วในการส่งสูงสุดเพียง 1 Mbps แต่โดยทั่วไป เรามักมีการ Download หรือรับข้อมูล มากกว่า Upload หรือส่งข้อมูล ดังนั้น ADSL จึงสามารถรองรับการใช้งานได้เป็นอย่างดี
3. ระยะ ทางที่สามารถ รับ-ส่ง ข้อมูล (Distance) ระยะทางที่สามารถทำงานได้ของ แต่ละเทคโนโลยีจะไม่เท่ากัน โดยที่เทคโนโลยีที่มีความเร็วสูงขึ้น มักจะมีระยะสามารถทำงานได้สั้นลง เช่น VDSL ซึ่งมีความเร็วสูงมากคือ 52 Mbps แต่จะสามารถทำงานได้ในระยะทางไม่เกิน 1 กิโลเมตรเท่านั้น
4. จำนวน สายที่ใช้ (Wire) โดยในช่วงต้นของการพัฒนานั้น HDSL ถูกคิดค้นให้ใช้ถึง 2 คู่สายหรือสายทองแดง 4 เส้น แต่ระยะต่อมาสามารถพัฒนาให้สามารถ รับ-ส่ง ข้อมูลได้บนคู่สายทองแดงเพียง 1 คู่เท่านั้น และยังสามารถมีอัตราความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลสูงขึ้นด้วย
5. ความ สามารถในการใช้โทรศัพท์ระหว่าง รับ-ส่ง ข้อมูล (Voice Service) เทคโนโลยี DSL ที่เกิดขึ้นในระยะหลังจะถูกพัฒนาขึ้น ให้สามารถใช้งาน โทรศัพท์ได้ด้วยระหว่างที่มีการ รับ-ส่ง ข้อมูล เช่น ADSL และ VDSL
วันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ทำไมต้องมี fortigate
ไฟร์วอลล์ไม่วิเคราะห์ Contents จึงพลาด Content Attacks
FireWall ตรวจ STATEFUL
ตรวจ packet headers เท่านั้น -- เช่น ดูที่ packet แต่ไม่เจออะไรอยู่ภายใน
Unified Threat Management (UTM)
สามารถตรวจสอบเนื้อหาได้สมบูรณ์ แต่ใช้อุปกรณ์หลายตัว
Multi - layered Security
โดยมี วิธีการดำเนินการป้องกันเนื้อหา
-Firewall-ป้องกัน ต่อการโจมตี
-Antivirus Gateway- ปกป้อง email จากการติดเชื้อไวรัส
-IPS / IDS-ป้องกัน การโจมตีที่เป็นอันตราย
-Anti SPAM-ลดอีเม ลที่ไม่พึงประสงค์
-Web filters-สามารถบล๊อกเว็บที่เราไม่ต้องการให้เข้าถึงได้
-VPN-มอบความ ปลอดภัยการเข้าถึงระยะไกล
ข้อดีคือ
-มีความปลอดภัยสูง
-ลดความเสี่ยงที่จะเกิด down-time ของอุปกรณ์ขึ้น
ข้อเสีย
-ต้องการอุปกรณ์จำนวนมาก
-เพิ่มความซับซ้อนให้กับระบบเน็ตเวิร์ค
-ไม่สามารถป้องกัน blended threats ได้
FortiGate - A New Generation of Security Platform
ข้อดี
วิธีการ รักษาความปลอดภัยให้ครอบคลุม
ลด down-time จากหลายๆภัยคุกคาม
FortiGate มีโซลูชั่นแบบครบวงจร
-Firewall
-Antivirus
-IPS / IDS
-URL filtering
-Anti-SPAM
-VPN (SSL)
ไฟร์วอลล์ไม่วิเคราะห์ Contents จึงพลาด Content Attacks
FireWall ตรวจ STATEFUL
ตรวจ packet headers เท่านั้น -- เช่น ดูที่ packet แต่ไม่เจออะไรอยู่ภายใน
Unified Threat Management (UTM)
สามารถตรวจสอบเนื้อหาได้สมบูรณ์ แต่ใช้อุปกรณ์หลายตัว
Multi - layered Security
โดยมี วิธีการดำเนินการป้องกันเนื้อหา
-Firewall-ป้องกัน ต่อการโจมตี
-Antivirus Gateway- ปกป้อง email จากการติดเชื้อไวรัส
-IPS / IDS-ป้องกัน การโจมตีที่เป็นอันตราย
-Anti SPAM-ลดอีเม ลที่ไม่พึงประสงค์
-Web filters-สามารถบล๊อกเว็บที่เราไม่ต้องการให้เข้าถึงได้
-VPN-มอบความ ปลอดภัยการเข้าถึงระยะไกล
ข้อดีคือ
-มีความปลอดภัยสูง
-ลดความเสี่ยงที่จะเกิด down-time ของอุปกรณ์ขึ้น
ข้อเสีย
-ต้องการอุปกรณ์จำนวนมาก
-เพิ่มความซับซ้อนให้กับระบบเน็ตเวิร์ค
-ไม่สามารถป้องกัน blended threats ได้
FortiGate - A New Generation of Security Platform
ข้อดี
วิธีการ รักษาความปลอดภัยให้ครอบคลุม
ลด down-time จากหลายๆภัยคุกคาม
FortiGate มีโซลูชั่นแบบครบวงจร
-Firewall
-Antivirus
-IPS / IDS
-URL filtering
-Anti-SPAM
-VPN (SSL)
วันอาทิตย์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
AUI (Attachment Unit Interface)
ทรานซีฟเวอร์ (Transceiver) หรือ AUI (Attachment Unit Interface)
เป็นอุปกรณ์ที่ ทำหน้าที่เชื่อมต่อการสื่อสารของสเตชั่นเข้ากับของเครือข่ายเช่นเดียวกับคอนเนคเตอร์ หรือ อินเตอร์เฟซ ในเครือ ข่าย LAN ทั่วไป ทรานซีฟเวอร์จะอยู่ใน LAN Card แต่ในเครือข่าย LAN บางแบบ EtherNet อาจใช้ ทรานซีฟเวอร์เชื่อมต่อโดยตรงเข้ากับสายสื่อสารของเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงการสื่อสารเข้ากับสเตชั่น ซึ่งถือว่า เป็นการสิ้นเปลืองมากกว่าการใช้คอนเนตเตอร์ธรรมดา ๆ
AUI มีความยาวไม่เกิน 50 เมตร แม้ว่า controller จะสร้างอยู่ใน loop-back แต่ก็มีความยาวซึ่งไม่สามารถแน่ใจได้ว่า controller จะส่งสัญญาณได้ด้วยตัวเอง
โดยลักษณะของ PVC และ Teflon AUI cable จะคล้ายกับ PVC และ Teflon coaxial cable
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)